Page 63 - รายงานประจำปี2561
P. 63

ส‹วนที่ ๒ สรุปผลการดําเนินงานที่สําคัญในป‚งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑





                                         วิเคราะหตามอายุและประเภทความพิการ





                        อายุ ๖๐ ปขึ้นไป                                  ๑,๐๙๕,๐๕๐
                                                                          คน        การเห็น
                        อายุ ๑๕ - ๖๐ ป                            ๘๗๗,๘๕๓ คน       การไดยินหรือสื่อความหมาย
                                                                                    ทางการเคลื่อนไหวหรือรางกาย
                                                               ๗๗๓,๔๕๐ คน           ทางจิตใจหรือพฤติกรรม
                        อายุ ๒๒ - ๕๙ ป
                                                                                    ทางสติปญญา
                        อายุ ๑๕ - ๒๑ ป  ๗๑,๔๒๕ คน                                  ทางการเรียนรู
                                                                                    ออทิสติก
                                      ๖๗,๖๐๕ คน
                         อายุ ๖ - ๑๔ ป                                             มากกวา1ประเภท
                                                                                    ไมระบุ
                          อายุ ๐ - ๕ ป  ๑๔,๖๒๘ คน
                                  ๐     ๒๐๐,๐๐๐   ๔๐๐,๐๐๐   ๖๐๐,๐๐๐   ๘๐๐,๐๐๐  ๑,๐๐๐,๐๐๐  ๑,๒๐๐,๐๐๐

                       -    คนพิการที่อยูในวัยทํางาน อายุระหวาง ๑๕ - ๖๐ ป มีจํานวน ๘๗๗,๘๕๓ คน (รอยละ ๔๓.๔๐)
                       -    คนพิการอายุตั้งแต ๖๐ ปขึ้นไป มีจํานวน ๑,๐๙๕,๐๕๐ คน (รอยละ ๕๔.๑๔)

                       -   คนพิการที่มีอายุระหวาง ๒๒ - ๕๙ ป และคนพิการวัยสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปขึ้นไป) มีความพิการ

                           ทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกายมากที่สุด คิดเปนรอยละ ๓๒.๕๑ และรอยละ ๖๗.๔๙
                           ตามลําดับ

                       -    คนพิการที่อยูในวัยเด็กและวัยศึกษา (แรกเกิด - ๒๑ ป) มีอัตราสวนของคนพิการทางสติปญญา

                           มากที่สุด รอยละ ๒๙.๘๕
                                                  การศึกษาของคนพิการ





                                            ไมระบุ                     ๖๙๓,๑๐๕ คน
                                             อื่นๆ  ๑๗,๙๗๑ คน
                                       สูงกวาปริญญาตรี  ๒,๙๕๘ คน
                                          ปริญญาตรี  ๔,๖๘๒ คน
                                          อนุปริญญา  ๘๓๘ คน
                                     ประกาศนียบัตรวิชาชีพ  ๕๔,๘๓๕ คน
                                             มัธยม  ๒๖,๘๘๐ คน
                                         ประถมศึกษา
                                                                                    ๑,๐๙๓,๓๑๑ คน
                                      ต่ํากวาประถมศึกษา  ๑๓,๐๔๙ คน

                           ไมไดรับการศึกษาเนื่องจากอายุยังไมถึงเกณฑ  ๖,๑๓๖ คน
                                อายุถึงเกณฑแตไมไดรับการศึกษา  ๑๐๘,๗๑๖ คน
                                                ๐     ๒๐๐,๐๐๐   ๔๐๐,๐๐๐   ๖๐๐,๐๐๐   ๘๐๐,๐๐๐  ๑,๐๐๐,๐๐๐  ๑,๒๐๐,๐๐๐

                       คนพิการที่ไมไดรับการศึกษา จํานวน ๑๑๔,๘๕๒ คน (รอยละ ๕.๖๘ ของคนพิการที่มีบัตรประจําตัว
            คนพิการ) แบงเปน อายุไมถึงเกณฑที่จะเรียน จํานวน ๖,๑๓๖ คน (รอยละ ๕.๓๔ ของคนพิการที่ไมไดรับการศึกษา)

            เปนผูสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปขึ้นไป) จํานวน ๔๐,๑๑๓ คน (รอยละ ๓๔.๙๓ ของคนพิการที่ไมไดรับการศึกษา) และเปน

            คนพิการที่อายุถึงเกณฑแตไมไดรับการศึกษาจํานวน ๖๘,๖๐๓ คน (รอยละ ๕๙.๗๓ ของคนพิการที่ไมไดรับการศึกษา)


        ๕๘       รายงานประจําป‚ ๒๕๖๑ กรมส‹งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68